การคุ้มครองลิขสิทธิ์และระงับข้อพิพาทในยุคดิจิทัล

การคุ้มครองลิขสิทธิ์และระงับข้อพิพาทในยุคดิจิทัล

ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิด นวัตกรรมใหม่ๆ ด้านทรัพย์สินทางปัญญาและก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อทั้งภาคการผลิต ภาคการบริการ และภาค การจำ หน่ายสินค้าที่มีทรัพย์สินทางปัญญาเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น เพลงออนไลน์ ภาพยนตร์ออนไลน์ เกมส์ ออนไลน์ และอีบุ๊ค (e-book) เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงรูป แบบการดำ เนินธุรกิจที่อาศัยสื่อดิจิทัลและการจำ หน่ายสินค้า โดยใช้สื่ออินเทอร์เน็ต จึงเป็นสาเหตุสำ คัญที่ทำ ให้เกิดการ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาอย่างกว้างขวางโดยผู้ใช้งานบน สื่ออินเทอร์เน็ตและ ผู้จำ หน่ายสินค้าออนไลน์ ซึ่งนำ ไปสู่ ความขัดแย้งและมีข้อพิพาทด้านทรัพย์สินทางปัญญามาก ขึ้นตามไปด้วย

ภาครัฐจึงจำ เป็นต้องให้ความสำ คัญกับแนวทางการ คุ้มครองและปกป้องสิทธิในงานทรัพย์สินทางปัญญาบนสื่อ อินเทอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิด ที่เกิดขึ้นดังกล่าว ขณะเดียวกัน จำ ต้องมีกระบวนการระงับ ข้อพิพาทที่มีประสิทธิภาพมาช่วยอำ นวยความสะดวกใน การระงับข้อพิพาทให้แก่คู่พิพาท ได้อย่างทันท่วงที คล่องตัว และสอดรับกับสถานการณ์การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกิดขึ้นในยุคดิจิทัล

ในส่วนของการคุ้มครองลิขสิทธิ์บนสื่ออินเทอร์เน็ต กระทรวงพาณิชย์โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญาได้แก้ไข ปรับปรุงพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ให้สอดรับกับ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล จนกระทั่งปี พ.ศ. 2558 ได้ดำ เนินการเป็นผลสำ เร็จ ส่งผลให้พระราช บัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 มีผลใช้บังคับในวันที่ 4 สิงหาคม 2558 ท่ามกลางกระแสตอบรับในยุคที่รัฐบาล ส่งเสริมนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลและการตื่นตัวของผู้ใช้สื่อ สังคมออนไลน์

Copyright Protection and Dispute Settlement in Digital Age

Fast-paced technological advancement has brought about innovations in area of intellectual property which in turn is leading to changes in the manufacturing, service, and distribution of IP-related products e.g. online musics, movies, games, and e-books, etc. Changes in the way to conduct business by relying more on the digital media and internet are followed by extensive intellectual property infringement by the internet users and online vendors. Due to a massive scale of IP infringement, a soaring number of conflicts and disputes related to the intellectual property follows suit.

It is thus necessary for the government sector to ensure that the preventive measures and protection of intellectual property rights on internet media is effective enough to solve the infringement problem. In the meanwhile, the responsible government agencies have to make sure that, in addition to the above protection mechanisms, there is in place effective judiciary procedures to facilitate settlement of disputes in a timely and flexible manner that best fits with the skyrocketing rate of IP infringement in this digital age.

With respect to the protection of copyright, on the Internet the Ministry of Commerce by the Department of Intellectual Property had been working on amending the Copyright Act B.E. 2537 (1994) to deal with the fast-changing world of technology. In 2015 the efforts to amend this law eventually bore fruit. The Copyright Act B.E. 2537 (1994) as amended by the Copyright Act (No.2) B.E. 2558 (2015) came into force on August 4, 2015. This has happened at the right time when the government pushes the digital economy policy and the use of social media is tremendously widespread.

Translate »