วิวัฒนาการด้านกระบวนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลและการตรวจ สอบเครื่องหมายการค้า ในระหว่างที่กฎระเบียบเกี่ยวกับ เครื่องหมายการค้าได้มีการพัฒนาขึ้นตามลำ ดับ ระบบการ จัดเก็บข้อมูลและการตรวจสอบเครื่องหมายการค้าก็ได้มี การพัฒนาปรับปรุงให้ทันกับยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงใน เวลาใกล้เคียงกับที่พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าฉบับ แรกของประเทศไทยออกมาใช้บังคับเพื่อให้การจดทะเบียน เครื่องหมายการค้าดำ เนินไปด้วยความราบรื่น และเพราะ จำ นวนคำ ขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าก็มีจำ นวนเพิ่ม ขึ้น ทำ ให้เกิดปัญหาของการจัดเก็บข้อมูลเครื่องหมายที่มี การจัดเก็บไม่ดีพอ
ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2502 จึงได้มีการวางระบบการ จัดเก็บข้อมูลเครื่องหมายการค้าเป็นสารบบรูปและสารบบ คำ โดยเก็บเครื่องหมายการค้าที่เป็นรูปไว้ในหมวดหมู่ ของรูปลักษณะอย่างเดียวกัน เช่น เสือ ลิง คน หากใน เครื่องหมายหนึ่งมีหลายๆ รูป ก็จะแยกเก็บไว้ทุกหมวด เพื่อที่จะสามารถตรวจค้นพบได้ทันที ส่วนสารบบคำ ก็จะ กำ หนดอักษรตัวหน้าและเสียงท้ายของเครื่องหมายการค้า โดยอักษรหน้าจะเป็นพยัญชนะในภาษาอังกฤษ เมื่ออ่าน ออกเสียงเครื่องหมายการค้าได้อย่างไรก็แทนด้วยพยัญชนะ ตัวนั้น เช่น หากเป็นเครื่องหมายคำ ว่า “หอมจัง” ตัวหอหีบ จะแทนด้วยตัว H ในภาษาอังกฤษขณะที่เสียง “จัง ให้ลาก ยาวและใส่เสียง อ แทนที่คำ ว่า จัง ใส่เสียง อ แทนเป็น อัง เมื่อลากเสียงให้ยาวจึงเป็น อาง” การจัดเก็บข้อมูลใน ลักษณะนี้ยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แม้ว่าในปัจจุบันจะมี การนำ เทคโนโลยีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาพัฒนาการจัดเก็บ สารบบรูปและคำ ของเครื่องหมายก็ตาม จากการลงสารบบ ด้วยลายมือ และการตรวจสอบด้วยการเปิดแฟ้มสารบบใน ได้พัฒนาเป็นการสแกนรูปเครื่องหมาย และคีย์ข้อมูลของ เครื่องหมายการค้าลงในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำ การ เรียกตรวจสอบได้จากคอมพิวเตอร์ แต่แม้ว่าจะมีการนำ เทคโนโลยีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูลและ การตรวจสอบ การจัดเก็บข้อมูลเครื่องหมายที่เป็นคำ ก็ยังคง เป็นไปตามแนวคิดดั้งเดิมที่มีมาเกือบร้อยปี คือการจัดเก็บ ด้วยวิธีอักษรแลกเสียงท้ายและตรวจสอบด้วยการเรียกดูจาก อักษรแรกเสียงท้าย ส่วนการจัดเก็บข้อมูลเครื่องหมายการค้า ที่เป็นรูปเครื่องหมาย จากการจัดเก็บลงแฟ้มเป็นหมวดหมู่ ก็ทำ การพัฒนาโดยนำ การจัดเก็บรูปเครื่องหมายตามระบบเวียนนา (Vienna Agreement) ซึ่งกำ หนดให้ทำ การจัดเก็บ เครื่องหมายตามหมวดหมู่ที่กำ หนด เช่น รูปพระอาทิตย์ จะ กำ หนดรหัสพระอาทิตย์เป็นหมวด 1.1 เป็นต้น การจัดเก็บ ข้อมูลด้วยระบบเวียนนา ยังคงใช้มาอยู่ถึงปัจจุบันนี้ โดย การกำ หนดรหัสและทำ การสแกนรูปเครื่องหมายการค้าลง เก็บไว้ ในฐานข้อมูลของคอมพิวเตอร์เพื่อรอให้ เจ้าหน้าที่ ผู้ตรวจสอบเรียกข้อมูลนั้นๆ มาทำ การตรวจสอบเปรียบ เทียบความเหมือนคล้ายกับเครื่องหมายของบุคคลอื่นต่อไป ส่วนการตรวจสอบเครื่องหมายการค้าในปัจจุบันก็มีการ พัฒนาให้บุคคลภายนอกสามารถที่จะเรียกข้อมูลนี้มาทำ การ ตรวจสอบได้ โดยสามารถเช็คสถานะของคำ ขอจดทะเบียน ของตน หรือเช็คสถานะโดยทั่วๆ ไป ตลอดจนสามารถตรวจ สอบความเหมือนคล้ายของเครื่องหมายการค้า ก่อนทำ การ ยื่นของจดทะเบียน ทางอินเตอร์เน็ต ตลอดจนเจ้าหน้าที่ สามารถทำ งานที่บ้าน (WORK AT HOME) ได้อีกด้วย
Administrative Evolution of Trademarks: Registration Procedures
Along side the gradual development of substantive provisions of law on trademarks, concurrent development has been made in the sphere of systems for storing data related to trademarks and examination of trademarks in order to be well suited to change of circumstances. In effect, such administrative development was put in place almost at the same time as the promulgation of the first Trademarks Act of Thailand. It was indeed intended to ensure smooth operation of registration of trademarks and to solve problems arising in connection with the storage of data related to trademarks amidst a growing number of applications for registration of trademarks and poor storage-management.
Thus, in 1959, storage of data related to trademarks was systematised, with the establishment of a database of images and a database of words used as elements of trademarks. For these purposes, imagetrademarks are stored in different categories classified by reference to similarities of images e.g. tigers, monkeys or human-beings. Where a particular trademark is composed of several images, such trademark is to be stored in all categories associated with all images used, in order to enable immediate search and immediate search results. As for a database of word-oriented trademarks, the storage is operated by reference to the beginning character and the ending sound of the trademark. The beginning character is to be indicated by the alphabet in the English language which corresponds to the pronunciation in Thai. For instance, in the case of the “หอมจัง” trademark, the beginning “ห” alphabet in Thai corresponds to the “H” alphabet in English whilst the ending sound “จัง“ (Jang) is to be pronounced in a lengthening manner (“Jaang”) and replaced by “A” so as to be “A-ang” for the purpose of the inclusion of such trademark on the database. This manner of storage has been in use up to present, despite the parallel use of computing technology for storing images and words forming integral elements of trademarks. The manual entry of information and manual file-opening in the process of trademark examination have now been replaced or supplemented by the computerassisted administration, whereby images of trademarks are scanned and information pertinent to them are keyed onto the computer system allowing computerised searching. Notwithstanding such computer technology used in informational handling as well as trademark examination, storing word-based trademarks remains founded upon the traditional concept in operation over a hundred years – storing by reference to the beginning character and the ending sound of each trademark. Also, the systematic filing of image-based trademarks has been developed along the line of the international classification of the figurative elements of marks embodied in the Vienna Agreement, under which figurative elements of trademarks are to be divided into categories, divisions and sections, each of which has been given a number according to a special coding system; for instance, trademarks bearing the “Sun” image are in a special category marked with the number 1.1 as its code. Data arrangement under the Vienna Classification system has been in use up till