วิวัฒนาการการเตรียมการให้บริการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าระหว่างประเทศ

วิวัฒนาการการเตรียมการให้บริการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าระหว่างประเทศ

ระบบเครื่องหมายการค้าของประเทศไทยเป็นระบบ การจดทะเบียน กล่าวคือ เจ้าของเครื่องหมายการค้าจะ ต้องนำ เครื่องหมายการค้าของตนมาจดทะเบียนต่อ กรม ทรัพย์สินทางปัญญา ในฐานะหน่วยงานของรัฐ จึงจะได้ รับความคุ้มครองตามกฎหมาย โดยทั่วไปการขอรับความ คุ้มครองในประเทศใดก็ตาม เจ้าของเครื่องหมาย การค้าจะ ต้องจดทะเบียนเพื่อขอรับความคุ้มครองในประเทศนั้นๆ อัน เป็นไปตามหลักดินแดน ประเทศส่วนใหญ่ในโลกจะให้ความ คุ้มครองเครื่องหมายการค้าในระบบจดทะเบียนดังกล่าวนี ดังนั้น หากผู้ประกอบการไทยต้องการจะขยายตลาดการ ค้าไปยังต่างประเทศ จะต้องดำ เนินการยื่นขอจดทะเบียน ในทุกๆ ประเทศที่ต้องการขอรับความคุ้มครอง ทำ ให้เสีย เวลาและค่าใช้จ่ายในการดำ เนินการต่างๆ อาทิ การจัดทำ คำ ขอที่ใช้ภาษาต่างกัน การชำ ระค่าธรรมเนียมในสกุลเงินที่ ต่างกัน รวมทั้งการบริหารจัดการคำ ขอทั้งก่อนและหลังการ จดทะเบียนด้วย เช่น การแก้ไขเปลี่ยนแปลง การต่ออายุ การโอน เป็นต้น

การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในอนาคตข้าง หน้าของประเทศไทย จึงจำ เป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมโลกที่เติบโต อย่างรวดเร็ว โดยระยะแรก กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ เพียงแต่บริการให้คำ ปรึกษา แนะนำ หลักเกณฑ์ และขั้น ตอนเบื้องต้นในการยื่นขอ จดทะเบียนในต่างประเทศ และ เชิญวิทยากรจากต่างประเทศ มาให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ เป็นระยะๆ จัดทำ เอกสารเผยแพร่ เช่น คู่มือการจดทะเบียน เครื่องหมายการค้าเบื้องต้นใน 30 ประเทศ เพื่อให้ผู้ประกอบการ และผู้สนใจใช้เป็นแนวทางในการดำ เนินการยื่นขอจดทะเบียน แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการก็ยังต้องเดินทางไป ดำ เนินการ เองหรือจ้างตัวแทนในการดำ เนินการแทน ซึ่งเป็นอุปสรรค อีกประการหนึ่งในการขยายตลาดและ การปกป้อง เครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการไทยในต่างประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ จึงได้มีนโยบาย ที่จะอำ นวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการไทย ในการขอรับ ความคุ้มครองสิทธิในเครื่องหมายการค้าในต่างประเทศ โดยได้ดำ เนินการเตรียมการให้ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าระหว่างประเทศภายใต้ พิธีสารมาดริด (Madrid Protocol) ซึ่งจะเป็นอีกช่องทาง หนึ่งที่สะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายในการ จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในต่างประเทศ ประกอบกับ การที่ประเทศไทยได้ร่วมจัดทำ แผนงานการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community (AEC) Blueprint) โดยมีข้อตกลงให้สมาชิกอาเซียนเข้าเป็นภาคี พิธีสารมาดริดภายในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) กรม ทรัพย์สินทางปัญญาจึงได้เตรียมความพร้อมทั้งด้านองค์กร ด้านบุคลากร และด้านเทคโนโลยีเพื่อเชื่อมโยงกับระบบ การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าขององค์การทรัพย์สิน ทางปัญญาโลกเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้รอการแก้ไขกฎหมายให้ สอดคล้องกับบทบัญญัติของพิธีสารมาดริดเท่านั้น

สำ นักเครื่องหมายการค้าในฐานะผู้ดูแลและ รับผิดชอบในการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าเอง ก็ได้สร้างบุคคลากรผู้ที่มีความสามารถในแต่ละยุคสมัยของ การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจให้กับประชาชนผู้เข้ามาใช้บริการ ตั้งแต่ สำ นักเครื่องหมายการค้ายังมีฐานะเป็น หอทะเบียน เครื่องหมายการค้า ในกระทรวงเกษตราธิการและโอนไป เป็นหน่วยงานหนึ่งที่อยู่ในกรมทะเบียนการค้า จนกระทั่ง ในปี พ.ศ.2535 ในหลวงรัชกาลที่เก้าได้มีพระบรมราชโองการ การตั้ง “กรมทรัพย์สินทางปัญญา” ซึ่งโอนหน่วยงานรับผิด ชอบดูแลเรื่องการจดทะเบียนคุ้มครองเครื่องหมายการค้า ให้ไปเป็นกองตรวจสอบสอง ในกรมทรัพย์สินทางปัญญา จนกระทั่งเป็นสำ นักเครื่องหมายการค้า ในปัจจุบันนี้ บุคลากรรุ่นใหม่ในสำ นักเครื่องหมายการค้าพร้อมแล้วที่จะ ให้บริการต่อประชาชนและพร้อมที่จะผลักดันให้ระบบของ เครื่องหมายการค้าตอบสนองต่อความก้าวหน้าและความ ทันสมัยในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศที่กำ ลังเฟื่องฟูและ ก้าวหน้าสู่ความเป็นสากลตามช่วงจังหวะของการพัฒนาใน ยุคการสื่อสารไร้พรมแดนนี้

Evolution towards Services for International Registration of Trademarks

The protection of trademarks in Thailand has been founded upon the registration system, under which trademark owners are required to register their trademarks with the Department of Intellectual Property in order to be afforded protection by law. In general, in order for trademarks to be protected in any particular country, owners of those trademarks must register their trademarks in that country. This is indeed based upon the “territoriality” principle adopted by most countries for the purpose of trademark protection. As such, Thai traders who intend to expand their market to foreign countries need to take action in filing applications for registration of their trademarks in every country where they intend their trademarks to be protected. Such multiplicity of application engenders a great waste of time as well as handling costs and involves difficulties, for instance, arising from differences of languages and currencies in which the required payments are to be made. Some difficulties may also surround the management of applications prior to and subsequent to the registration, including amendment and alteration of applications, extension of the protection period and assignment of trademarks.

Much need is, therefore, felt for the development of the scheme for registration of trademarks in Thailand in the future to suit the world’s fast-growing economic and social circumstances. In an early phase, the Department of Intellectual Property merely provided consultancy services, under which advice has been given on rules and procedures for the filing of applications in foreign countries. In this regard, speakers from foreign countries have been invited to give talks to entrepreneurs and advisory documents, including manuals on registration of trademarks in 30 countries, have been prepared and distributed with a view to guiding interested persons through actions to be pursued for registration of trademarks in foreign countries. Nevertheless, entrepreneurs would remain obliged to travel to the intended countries, or engage agents to do so, for the purpose of filing applications, hence another impediment to market penetration and the protection of Thai trademarks in foreign countries. To curb all these difficulties, the Department of Intellectual Property has put in place its policy facilitating Thai traders’ application

for the protection of their trademarks in foreign countries. Such facilitation is to be carried into real effect through taking action in preparation for the accession to the Protocol Relating to the Madrid Agreement Concerning the International Registration of Marks (Madrid Protocol), which serves as another convenient, expeditious and cost-reducing channel for registration of trademarks in other countries. Indeed, as Thailand participated in the preparation of the ASEAN Economic Community (AEC) Blueprint which in effect requires ASEAN members to join the Madrid Protocol within 2015, the Department of Intellectual Property has felt compelling need for, and indeed has been successfully working towards, the preparation of its organisational structure, personnel and technology for linking with the trademark registration system established by the World Intellectual Property Organisation (WIPO). With such readiness, the Department of Intellectual Property now merely awaits amendment of legislation in line with the requirements under the Madrid Protocol.

The Trademarks Office, as the Department’s internal body directly in charge of the protection of trademarks, has unfailingly built up personnel well capable, at every advent of change, of performing official duties efficiently to the satisfaction of general members of the public using the Department’s services. Historically, the Trademarks Office has been developed from the Trademarks Registration Office within the Ministry of Agriculture, which was later shifted to be part of the Department of Commercial Registration, Ministry of Commerce. In 1992, following the establishment of the “Department of Intellectual Property” in the reign of King Rama IX, the agency responsible for affairs relating to registration for the protection of trademarks was transferred to the Department of Intellectual Property and given the new official name as the “Examination Division 2”, which becomes the Trademarks Office nowadays. At present, new-generation personnel of the Trademarks Office are well ready to deliver services to the public and put forth schemes for protecting trademarks in response to advancements and modernity in the era of highly developed information technology so as to bring Thailand to internationality consistent with borderless communication development.

Translate »