งานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

งานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

0ขายโดย

งานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

 

งานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

งานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

งานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

สถานะสิทธิบัตร

คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1401002905 ยื่นคำขอวันที่ 16 พฤษภาคม 2557

ที่มาของงานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

การบริโภคเนื้อปลาปักเป้าที่มีพิษเตตโตรโดท็อกซิน (tetrodotoxin) ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ทั้งนี้จะเน้นศึกษาในกลุ่มของปลาปักเป้า Lagocephalus คือปลาปักเป้าหลังด่าง (L. sceleratus) ปลาปักเป้าหลังเรียบ (L. inermis) ปลาปักเป้าหลังน้ำตาล (L. spadiceus) และปลาปักเป้าหลังเขียว (L. lunaris) ที่พบในน่านน้ำไทยและมีการลักลอบจำหน่ายและส่งออกเป็นจำนวนมาก อีกทั้งเครื่องหมายดีเอ็นเอ (DNA) ดังกล่าวจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องการบ่งชี้ชนิดโดยเฉพาะปลาปักเป้าหลังเขียว (L. lunaris) ซึ่งเป็นชนิดที่มีความเป็นพิษมากกว่าชนิดอื่นๆ แต่มักสับสนจากลักษณะสัณฐานวิทยาภายนอกที่คล้ายคลึงกับปลาปักเป้าถูกแปรรูปแล้วเครื่องหมายดีเอ็นเอ (DNA) ก็ยังมีประสิทธิภาพการบ่งชี้และสามารถระบุได้ว่าเป็นเนื้อปลาของปลาปักเป้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

 สรุปเทคโนโลยีของงานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

การคิดค้นการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าในวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ (multiplex PCR) ซึ่งใช้ชุดโอลิโกนิวคลีโอไทด์ไพรเมอร์ (oligonucleotide primer) ที่ออกแบบใหม่ที่มีความแม่นยำสูง สามารถใช้ทดสอบกับชิ้นส่วนอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งเพียงเล็กน้อย เช่น เนื้อเยื่อ ผิวหนัง และซี่ครีบ เป็นต้น ทั้งในรูปของปลาสด ดองในแอลกอฮอล์ (alcohol) ผ่านการทำให้สุก หรือปลอมปนกับวัตถุอื่นๆ

จุดเด่นของเทคโนโลยีงานวิจัยการบ่งชี้ชนิดของปลาปักเป้าวัตถุดิบอาหารด้วยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์

การบ่งชี้ชนิดของเนื้อปลาปักเป้าที่ปลอมปนอยู่ในวัตถุดิบอาหารโดยใช้เทคนิคมัลติเพล็กซ์ พีซีอาร์ (multiplex PCR) ที่มีความจำเพาะกับดีเอ็นเอ (DNA) ของปลาปักเป้า ด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ไพรเมอร์จำเพาะ (specific primer) ทั้งนี้สามารถใช้วิธีดังกล่าวกับเครื่องมือพื้นฐานที่มีในห้องปฏิบัติการทั่วไป สามารถนำไปพัฒนาบ่งชี้ได้ว่าเป็นปลาปักเป้าชนิดใด ทั้งชิ้นส่วนอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งเพียงเล็กน้อย เช่น เนื้อเยื่อ ผิวหนัง และซี่ครีบ เป็นต้น ทั้งในรูปของปลาสด ดองในแอลกอฮอล์ (alcohol) ผ่านการทำให้สุก หรือปลอมปนกับวัตถุดิบอื่นๆ

ความร่วมมือที่เสาะหา

เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

CR thailandtechshow

ข้อมูลติดต่อสอบถามงานวิจัย

ชื่อ นาย อดิเรก ล้อมวงษ์
อีเมล business_noom@hotmail.com
Facebook www.facebook.com/copy8
line Copyri.com

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

Translate »