ดูตะกร้าสินค้า เพิ่ม “ขายอนุสิทธิบัตรกาวดินน้ำมัน” ในตะกร้าเรียบร้อย
งานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

งานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

0ขายโดย

งานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

งานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

งานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

งานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

  • คำขอสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1301003661 เรื่อง เครื่องเตือนภัยน้ำหลาก ยื่นคำขอวันที่ 23 พฤษภาคม 2557

ที่มาของงานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา

การเกิดอุทกภัยฉับพลันเนื่องจากน้ำป่าไหลหลากนั้นพบว่าเกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วงเวลาที่ผ่านมาในอดีต โดยที่ส่วนใหญ่มีสาเหตุเนื่องมาจากพายุฝนตกหนัก และยังพบอีกว่าได้ทวีความรุนแรงและมีความถี่มากขึ้นทุกๆปี ทั้งนี้เพราะบริเวณพื้นที่ป่าเขาและลาดไหล่เขาด้านเหนือน้ำซึ่งเคยอุดมสมบูรณ์ในอดีตได้ถูกนำไปพัฒนาเป็นพื้นที่เกษตรกรรม สถานที่ท่องเที่ยว ที่อยู่อาศัยและอื่นๆเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
แนวทางในการวิจัย เป็นการสร้างเครื่องมือเตือนภัยน้ำหลาก ที่ไม่มีสัญญาณสื่อสารทุกประเภท ในบริเวณต้นน้ำนางแลใน โดยการสร้างระบบเตือนภัย ออก เป็น 4 ระดับ เมื่อเกิดฝนตกฉับพลันเครื่องวัดปริมาณน้ำฝนจะตรวจสอบว่าปริมาณน้ำฝนมีจำนวนเท่าไหร่ เมื่อปริมาณน้ำฝนมาก เครื่องวัดปริมาณน้ำในที่สร้างขึ้นก็จะส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุสื่อสาร ส่ง สัญญาณไปหาผู้รับปลายทาง ที่มีช่องสัญญาณเดี่ยวกัน ที่ได้ตั้งช่องสัญญาณไว้ ก็จะเป็นการเตรียมการก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์น้ำป่าไหลหลากลงสู่พื้นที่ลุ่มน้ำให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติดำเนินการเบื้องต้นโดยการวางระบบเตือนภัย

สรุปเทคโนโลยีของงานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

การสร้างเครื่องมือเตือนภัยน้ำป่าไหลาก บริเวณต้นน้ำนางแลใน โดยการสร้างระบบเตือนภัย ที่ไม่มีสัญญาณสื่อสารทุกประเภท โดยการออกแบบเครื่องเตือนภัย เป็น 4 ระดับ เมื่อเกิดฝนตกฉับพลันเครื่องวัดปริมาณน้ำฝนจะตรวจสอบว่าปริมาณน้ำฝนมีจำนวนเท่าไหร่ เมื่อปริมาณน้ำฝนมากผ่านจุดที่เป็นเซนเซอร์ เครื่องวัดปริมาณน้ำในที่สร้างขึ้นก็จะส่งสัญญาณผ่านคลื่นวิทยุสื่อสาร ส่ง สัญญาณไปหาผู้รับปลายทาง ที่มีช่องสัญญาณเดี่ยวกัน ที่ได้ตั้งช่องสัญญาณไว้ ก็จะเป็นการเตรียมการก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์น้ำป่าไหลหลาก เฝ้าระวัง เตือนภัย

จุดเด่นของเทคโนโลยีงานวิจัยเครื่องเตือนภัยน้ำป่าไหลหลาก

เครื่องเตือนภัยน้ำหลากที่สร้างขึ้นสำหรับใช้ในพื้นที่ ห่างไกล ไม่มีสัญญาณสื่อสารทุกประเภท จัดทำขึ้นเพื่อให้ มีการสื่อสารได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการส่งสัญญาณ โดยจะทำการส่งสัญญาณเป็นเสียงในรูปแบบประโยค ดังต่อไปนี้ 1)จุดที่ 1 เตือนภัยระดับ 1 2)จุดที่ 2 เตือนภัยระดับ 2 เฝ้าระวัง 3)จุดที่ 3 เตือนภัยระดับ 3 ยกของขึ้นที่ สูง 4)จุดที่ 4 เตือนภัยระดับ 4 อพยพ
จะเป็นการส่งสัญญาณ ไปยังสถานที่เผ้าระวังปลายทาง ที่เทศบาลตำบลนางแล และสถานเฝ้าระวังสำนักวิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย แล้วทำการประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชนและ ชุมชนให้เฝ้าระวังอยู่ตลอดเวลา พร้อมมีแผนในการป้องกันภัยต่อไป

 ความร่วมมือที่เสาะหา

เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

CR thailandtechshow

ข้อมูลติดต่อสอบถามงานวิจัย

ชื่อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชิต นางแล สำนักวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
โทร 053-776395,096-7731885,091-8587973
อีเมล firstiit@gmail.com
Facebook www.facebook.com/copy8
twitter
line Copyri.com
instagram

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

Translate »