ดูตะกร้าสินค้า เพิ่ม “ขายอนุสิทธิบัตรกาวดินน้ำมัน” ในตะกร้าเรียบร้อย
งานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

งานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

0ขายโดย

งานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

 

งานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

งานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

งานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

อนุสิทธิบัตร เลขที่ 8649

ที่มาของงานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

ประเทศไทยเป็นแหล่งเพาะปลูกและส่งออกพืชผักผลไม้ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก แต่พบปัญหาในกระบวนการส่งออกคือ ผลผลิตมีอายุการเก็บรักษาสั้น เกิดการเน่าเสียเร็ว จึงมีการพัฒนาการบรรจุหีบห่อภายใต้สภาวะอากาศดัดแปลง โดยควบคุมการไหลผ่านของออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ เป็นต้น
วัตถุดิบที่ใช้ในการทำหีบห่อส่วนใหญ่ ผลิตจากแผ่นฟิล์มของโพลิเมอร์ชนิดต่างๆ แผ่นฟิล์มมีกระบวนการผลิตที่ทำให้มีรูพรุน โดยนำโพลีเอทธิลีนมาผสมกับวัสดุต่างๆ เช่น การผสมกับแป้งมันสำปะหลัง การผสมกับซีโอไลต์ ที่ผลิตด้วยวิธีธรรมดาทั่วไป ซึ่งมีอัตราการซึมผ่านต่ำถึงปานกลาง จึงไม่เหมาะกับการนำไปใช้หีบห่อผักผลไม้ที่มีอัตราการหายใจสูง เช่น คะน้า บล็อกโคลี

 สรุปเทคโนโลยีของงานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

ดังนั้นจึงได้ประดิษฐ์แผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีนที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ ที่มีส่วนประกอบของเม็ดพลาสติกโพลีเอทธิลีนความหนาแน่นต่ำ และเถ้าแกลบด้วยวิธีพิเศษ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการห่อพืช ผัก ผลไม้ เพื่อยืดอายุของผลผลิตได้ นอกจากนี้ยังสามารถประยุกต์ใช้เป็นแผ่นรองพื้นด้านนอกของผ้าอ้อมได้

จุดเด่นของเทคโนโลยีงานวิจัยแผ่นฟิล์มโพลีเอทธิลีน (polyethylene) ที่มีส่วนผสมของเถ้าแกลบ

แผ่นฟิล์มที่มีความแข็งแรงและมีอัตราการซึมผ่านของก๊าซสูงกว่าแผ่นฟิล์มที่ผลิตโดยวิธีธรรมดา
มีผลการวิจัยรับรอง การทดสอบอัตราการซึมผ่านของไอน้ำและอัตราการซึมผ่านของออกซิเจน

ความร่วมมือที่เสาะหา

เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

ข้อมูลติดต่อสอบถามงานวิจัย
ชื่อ นาย อดิเรก ล้อมวงษ์
อีเมล business_noom@hotmail.com
Facebook www.facebook.com/copy8
line Copyri.com

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

Translate »