งานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

งานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

0ขายโดย

งานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

งานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

งานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

งานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

  • อยู่ระหว่างยื่นคำขอ

ที่มาของงานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

ข้อมูลเบื้องต้น ความสำคัญของปัญหา

การวินิจฉัยหรือคัดกรองโรคติดเชื้อเบื้องต้น โดยระบบของผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการประมวลผลการนับเซลล์แบบกึ่งอัตโนมัติ สำหรับเซลล์ต่างๆ เช่น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว (ที่ผ่านการแยกเม็ดเลือดแดง-ขาวมาแล้ว) ยีสต์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม และเซลล์ไลน์ (Cell line) เป็นต้น

สรุปเทคโนโลยีของงานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor

จุดเด่นของเทคโนโลยีงานวิจัยCellScan : ระบบตรวจนับเซลล์แบบอัตโนมัติด้วยภาพจาก CMOS Sensor
• ขนาดเซลล์ที่สามารถวัดได้ 3-100 ไมครอน
• ความแม่นยำในการนับ : สำหรับ NIST Traceble Polystyrene Beads ขนาด 10 ไมครอน มีค่าความคลาดเคลื่อน
4.5 เมื่อเทียบกับ Flow Cytometer และ RBCs ขนาด 7-8 ไมครอน มีความคลาดเคลื่อน 6.1% เมื่อเทียบกับ Automated Hematology Analyzer
• ระบบมีขนาดเล็กกระทัดรัด น้ำหนักเบา ให้ผลวิเคราะห์รวดเร็วและสามารถนำไปใช้งานภาคสนามได้
• สะดวก ง่ายต่อการใช้งานและดูแลรักษา สามารถใช้งานได้โดยไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ชำนวญการ
• มีราคาต่ำกว่าเครื่องมืออื่นๆ ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดปัจจุบัน

• ใช้อุปกรณ์รับสัญญาณภาพ CMOS ในการตรวจนับเซลล์ ไม่มีการบิดเบือนของภาพเนื่องจากไม่ใช้เลนส์เป็น
ส่วนประกอบและเป็นการช่วยลดต้นทุนการผลิต
• พื้นที่ในการนับ (Field-of-View) ประมาณ 21 mm2 มากกว่ากล้องจุลทรรศน์ 40 เท่า และระยะลึกในการนับ
(Depth-of-Field) ประมาณ 0.4 mm. มากกว่ากล้องจุลทรรศน์ 400 เท่า เมื่อเทียบกับกล้องจุลทรรศน์กำลังขยาย (400x)
• ใช้เวลาประมวลผลรวดเร็วภายใน 20 วินาที และค่าใช้จ่ายในการนับต่อหนึ่งตัวอย่างจะมีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบ
กับการนับแบบปกติทั่วไป
• ไม่จำเป็นต้องใช้สารเคมีย้อมเซลล์เพื่อนับจำนวน
• ในอนาคตโปรแกรมของระบบสามารถพัฒนาต่อยอดได้ซึ่งจะสามารถนับเซลล์ชนิดต่างๆ ได้หลากหลายมากขึ้นโดย
ไม่ต้องทำการปรับแก้ฮาร์ดแวร์ของตัวเครื่อง

 ความร่วมมือที่เสาะหา

เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

CR thailandtechshow

ข้อมูลติดต่อสอบถามงานวิจัยชื่อ สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.
โทร 0 2564 7000 ต่อ 1616
อีเมล ipbiz@nstda.or.th
Facebook www.facebook.com/copy8
twitter
line Copyri.com

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

Translate »