บทบาทกรมทรัพย์สินทางปัญญาในการส่งเสริมสนับสนุนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์(GI)ไทย

กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้วางแนวทางการพัฒนา สินค้า GI ของไทยเป็น 3 ส่วนใน 2 มิติ ซึ่งจะต้องดำ เนิน การไปพร้อมๆ กัน คือ

1) “การขึ้นทะเบียน GI” กรมทรัพย์สินทางปัญญา จะส่งเสริมให้เกิดการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทาภูมิศาสตร์ใน ประเทศไทยและชี้ให้เห็นถึงความสำ คัญในการขึ้นทะเบียน พร้อมเข้าไปช่วยเหลือการขึ้นทะเบียนอย่างครบวงจร และคัดเลือกสินค้า GI ไทยที่มีศักยภาพทางการตลาด เพื่อยื่นจดทะเบียนในต่างประเทศปัจจุบันโครงการที่สำ คัญในการส่งเสริมการขึ้น ทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ คือ “โครงการหนึ่งจังหวัด หนึ่ง สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ” โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญาจะส่ง เจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ ซึ่งมีสินค้าที่มีศักยภาพเป็น GI เพื่อให้ ความรู้และชี้ให้เห็นถึงความสำ คัญของการขึ้นทะเบียน ยิ่งไปกว่านั้นกรมฯ ยังมีแผนที่จะทำ กิจกรรมในเชิงรุก ในการสนับสนุนงบประมาณการจัดทำ คำ ขอให้แก่ชุมชน ที่มีศักยภาพอีกด้วยเพื่อให้เกิดคำ ขอที่สมบูรณ์พร้อมที่จะขึ้น ทะเบียนเป็น GI ไทย

2) “ระบบควบคุม” กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะเข้าไป ช่วยเหลือและพัฒนาระบบควบคุม รวมถึงการสนับสนุน งบประมาณ สานรับการตรวจสอบรับรองระบบควบคุม ภายในของชุมชน ซึ่งการเข้าไปการเข้าไปส่งเสริมสนันสนุน ระบบควบคุมนั้นจะส่งผลให้ชุมชนมีกระบวนการผลิตที่มี มาตรฐาน มีกระบวนการทำ งานอย่างมีระบบซึ่งส่งผลให้ ได้คุณภาพของสินค้ามีคุณภาพสม่ำ เสมอและรักษาไว้ซึ่ง ภูมิปัญญาที่สืบต่อกันมา

กรมทรัพย์สินทางปัญญา มีแผนที่จะผลักดันให้ ทุกสินค้าที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น GI ไทยมีระบบควบคุม ภายในของตัวเองให้ครบทุกสินค้าภายในปี 2560 โดยเป็น อีกหนึ่งกิจกรรมเร่งด่วนที่กรมฯ ให้ความสำ คัญเพื่อรักษา คุณภาพและมาตรฐานของสินค้า GI ไทยให้เป็นที่ยอมรับ กับผู้บริโภค

3) “การตลาด” กรมทรัพย์สินทางปัญญา สร้างโอกาสและจัดพื้นที่เป็นช่องทางการขายให้กับ ผู้ประกอบการสินค้า GI เพื่อให้มีโอกาสเข้ามาทำ ตลาดในโมเดิร์นเทรดรวมทั้งทำ การส่งเสริมเผยแพร่ข้อมูลสินค้า GI ผ่านช่องทางต่างๆ ในอนาคตกรมทรัพย์สินทางปัญญาจะมี โครงการช่วยเหลือผู้ประกอบการในการพัฒนาสินค้า GI เพื่อ ให้เหมาะสมกับความต้องการของตลาดยุคใหม่เพิ่มมากยิ่งขึ้น

งาน GI Market คืองานใหญ่ประจำ ปีที่กรมฯ ให้ ความสำ คัญเพราะเป็นการสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการใน การสร้างช่องทางตลาด สร้างเครือข่าย และผู้บริโภคได้มี โอกาสพบกับของดีของแท้ของหายากที่ปกติไม่สามารถหา ได้ในท้องตลาดทั่วไป ยิ่งไปกว่านั้นกรมฯ ยังสร้างโอกาส ให้ผู้ประกอบการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าระดับนานาชาติ เพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาตัวเองและการส่งออก เช่น งาน THAIFEX เป็นต้น และในอนาคตกรมฯ ยังวางแผน ที่จะเข้าร่วมงานอื่นๆ เพิ่มเติม นอกจากนั้นยังมีมาตรการ ส่งเสริมด้านการตลาด อีกมาตรการหนึ่ง คือ การส่งเสริม ให้แหล่งผลิตสินค้า GI เป็นที่รู้จักและต่อยอดเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืนของเศรษฐกิจภายในชุมชน

DIP’s roles in promoting Thai GI

The Department of Intellectual Property has engineered a roadmap for Thai GI product development, covering the following 3 domains in 2 dimensions that would be simultaneously executed.

1) “GI registration”. The Department aims to boost more applications for GI registration in Thailand, educate the public about the advantages of GI registration, facilitate the registration activities in all respects, and select Thai GI products with promising marketing potential to be registered in other countries as well.

At present, the Department is steering an initiative called “One Province, One GI: Goods with Potential to be GI” project to promote GI registration of Thai products. Under this project, the Department’s officials will visit regions which are the places of origin of goods that have a good prospect to become GIs. By being physically there, it is a great opportunity for the Department’s staff to directly deliver knowledge and information about GI and convince the locals of the importance and advantages of having their products with distinctive qualities and characters registered as GIs. The Department has also adopted an action plan to proactively assist the communities with potential for GI registration in preparing applications for Thai GI registration by providing sufficient funding for such purpose.

2) “Control System”. The Department of Intellectual Property is to take part in the development of GI control system, provision of budgetary assistance, and the certification of the community’s internal controls. The Department’s support and assistance related to the control system will help maintain the standard of production processes and systemize operational procedures carried out by the communities. This will eventually lead to consistency of product quality and the continuation of traditional wisdom.

As another proactive initiative led by the Department of Intellectual Property, nearly all of Thai GIs would have internal systems in place within 2017. This initiative is one of the urgent tasks of the Department to ensure that the quality and standard characteristics of Thai GIs are maintained and continually acceptable to consumers.

3) “Marketing”. To assist GI business owners in creating marketing opportunity, the Department of Intellectual Property has made arrangements to obtain shelf space in the modern trade stores for GI products, along with the dissemination to a broader public of GI products information through a variety of channels. In the future the Department also has a plan to support and assist business owners in tailoring their GI products to better meet the trend of new market.

“GI Market” is always an important annual event held by the Department, opening new opportunities for Thai business owners to create more marketing channels and build networks with other business operators. On the consumer side, this is a good opportunity to shop genuine, rare items of product which are usually not available in the market. To encourage business operators’ self-improvement and boost export, the Department has made arrangements for Thai business operators to attend international trade exhibitions e.g. THAIFEX, etc. as well as other exhibitions in the future. In addition to marketing promotion efforts as mentioned above, the Department’s further goal is to promote the GIs’ places of origin to make them well-known in a wider public and to be tourists’ destinations to serve the purpose of economic sustainability within the community.

Translate »